ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยเป็นฐานที่ตั้งของทหารญี่ปุ่น จึงโดนทิ้งระเบิดจากกองทัพพันธมิตร สร้างความเสียหายแก่บ้านเรือนและพื้นที่เกษตรกรรมจำนวนมาก
และนี่คือภาพถ่ายการสำรวจทางอากาศของประเทศไทยบางส่วน ในปี ค.ศ.1946 (พ.ศ.2489) โดยฝีมือของ ปีเตอร์ วิลเลียมส์ – ฮันท์ เพื่อสำรวจพื้นที่เกษตรกรรมในการคำนวณค่าปฏิกรรมสงคราม หลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2
#1
กรุงเทพมหานคร (พระนคร)
#2
ลานพระบรมรูปทรงม้า กรุงเทพมหานคร (พระนคร)
#3
ไม่ทราบสถานที่
#4
อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย กรุงเทพมหานคร (พระนคร)
#5
สถานีรถไฟหัวลำโพง กรุงเทพมหานคร (พระนคร)
#6
ราชตฤณมัยสมาคมฯ (สนามม้านางเลิ้ง)
#7
สนามศุภชลาศัย กรุงเทพมหานคร (พระนคร)
#8
ไม่ทราบสถานที่
#9
ตลาดบำเพ็ญบุญ กรุงเทพมหานคร (พระนคร)
#10
เพชรบุรี
#11
กรุงเทพมหานคร (พระนคร)
#12
สะพานพระพุทธยอดฟ้า
#13
สวนลุมพินี กรุงเทพมหานคร (พระนคร)
#14
นครราชสีมา
#15
นครปฐม
#16
สมุทรสงคราม
#17
มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ท่าพระจันทร์, มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ
#18
กระทรวงยุติธรรม ถนนราชดำเนิน
#19
สะพานเฉลิมโลก ๕๕, วังเพ็ชรบูรณ์ กรุงเทพมหานคร (พระนคร)
#20
สะพานพระราม ๖ กรุงเทพมหานคร
#21
กรุงเทพมหานคร (พระนคร)
#22
สะพานผ่านพิภพลีลา, โรงแรมรัตนโกสินทร์, กรมโฆษณาการ (เดิมคือห้างแบดแมนกัมปะนี)
ถนนราชดำเนิน
#23
วชิราวุธวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร (พระนคร)
#24
ภูเขาทอง วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร (พระนคร)
#25
สะพานสุขตา ศาลาสุขใจ สถานตากอากาศบางปู
#26
วังบูรพาภิรมย์ กรุงเทพมหานคร (พระนคร)
#27
สะพานปรีดี-ธำรง พระนครศรีอยุธยา
#28
ประตูน้ำพระนเรศร์ พระนครศรีอยุธยา
#29
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร (พระนคร)
#30
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม, พระที่นั่งอนันตสมาคม กรุงเทพมหานคร (พระนคร)
เครดิตข้อมูล แฟนเพจ 77PPP